วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์ศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
Science Experiences Management for Early Childhood
Science Experiences Management for Early Childhood
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์จินตนา สุขสำราญ
วันที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2557
เวลาเรียน 08.30 - 12.20 น.
เวลาเข้าเรียน 08.30 น.
เวลาเข้าสอน 08.30 น. เวลาเลิกเรียน 12.20 น.
เวลาเข้าสอน 08.30 น. เวลาเลิกเรียน 12.20 น.
กิจกรรมในวันนี้
วันนี้อาจรย์ได้ให้คนที่ยังไม่ได้นำเสนอวิจัยและโทรทัศน์ครูออกมานำ
เสนอทั้งหมด
ในวันนี้ดิฉันก็ได้ออกมานำเสนอวิจัยด้วย ซึ่งวิจัยที่ออกมานำเสนอ คือ
เรื่อง ผลของการจัดประสบการณ์แบบปฏิบัติการทดลองประกอบอาหารกับ
แบบปกติที่มีต่อทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย
หลังจากที่ทุกคนนำเสนอกันเสร็จแล้วนั้นอาจารย์ก็ให้ทำกิจกรรมอีกหนึ่ง
อย่าง การทำแผ่นพับที่มีหัวข้อว่า " สารสัมพันธ์บ้านโรงเรียน " ซึ่งเป็นกิจกรรม
กลุ่มใช้กลุ่มเดิมคือกลุ่มที่เขียนแผนร่วมกันโดยมีหัวข้อดังนี้
- ชื่อและสัญลักษณ์ของโรงเรียนชื่อเด็กและครูประจำชั้น
- สิ่งที่ต้องการขอความอนุเคราะห์จากท่านผู้ปกครองและวัตถุประสงค์
- สาระน่ารู้เกี่ยวกับหน่วยที่เขียน
- แบบฝึกหัดที่ทำได้ในแผ่นพับ
- เพลง คำคล้องจอง
- ชื่อผู้จัดทำ
การนำไปประยุกต์ใช้
- เราสามารถนำความรู้ที่ได้รับจากอาจารย์ในเรื่องของงานวิจัยมาใช้ได้ใน
อนาคต ซึ่งอาจารย์สอนในเรื่องของตัวแปรต้นตัวแปรตามว่าคืออะไร การ
เลือกวิจัยที่เหมาะสมและวิธีการทำวิจัยที่ถูกต้อง ทำให้เราได้รับความรู้เพิ่มเติม
มากยิ่งขึ้น
การประเมินตนเอง
- วันนี้ตั้งใจเรียนดี สนใจในสิ่งที่อาจารย์สอนและให้ทำกิจกรรมสามารถทำ
กิจกรรมที่อาจารย์มอบหมายให้เป็นอย่างดี
การประเมินเพื่อน
- วันนี้เพื่อน ๆ ตั้งใจเรียนดีมาก สนใจในสิ่งที่อาจารย์บอกสอนและมีการจดบัน
ทึกความรู้ที่ได้รับ
การประเมินอาจารย์
- อาจารย์สามารถอธิบายความรู้ให้นักศึกษานั้นเข้าใจได้ และสามารถยก
ตัวอย่างที่ง่ายต่อความเข้าใจ และมีกิจกรรมที่นำมาช่วยสอนในเรื่องวิทยา
ศาสตร์ให้กับนักศึกษาถือเป็นการเรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติ
อย่าง การทำแผ่นพับที่มีหัวข้อว่า " สารสัมพันธ์บ้านโรงเรียน " ซึ่งเป็นกิจกรรม
กลุ่มใช้กลุ่มเดิมคือกลุ่มที่เขียนแผนร่วมกันโดยมีหัวข้อดังนี้
- ชื่อและสัญลักษณ์ของโรงเรียนชื่อเด็กและครูประจำชั้น
- สิ่งที่ต้องการขอความอนุเคราะห์จากท่านผู้ปกครองและวัตถุประสงค์
- สาระน่ารู้เกี่ยวกับหน่วยที่เขียน
- แบบฝึกหัดที่ทำได้ในแผ่นพับ
- เพลง คำคล้องจอง
- ชื่อผู้จัดทำ
การนำไปประยุกต์ใช้
- เราสามารถนำความรู้ที่ได้รับจากอาจารย์ในเรื่องของงานวิจัยมาใช้ได้ใน
อนาคต ซึ่งอาจารย์สอนในเรื่องของตัวแปรต้นตัวแปรตามว่าคืออะไร การ
เลือกวิจัยที่เหมาะสมและวิธีการทำวิจัยที่ถูกต้อง ทำให้เราได้รับความรู้เพิ่มเติม
มากยิ่งขึ้น
การประเมินตนเอง
- วันนี้ตั้งใจเรียนดี สนใจในสิ่งที่อาจารย์สอนและให้ทำกิจกรรมสามารถทำ
กิจกรรมที่อาจารย์มอบหมายให้เป็นอย่างดี
การประเมินเพื่อน
- วันนี้เพื่อน ๆ ตั้งใจเรียนดีมาก สนใจในสิ่งที่อาจารย์บอกสอนและมีการจดบัน
ทึกความรู้ที่ได้รับ
การประเมินอาจารย์
- อาจารย์สามารถอธิบายความรู้ให้นักศึกษานั้นเข้าใจได้ และสามารถยก
ตัวอย่างที่ง่ายต่อความเข้าใจ และมีกิจกรรมที่นำมาช่วยสอนในเรื่องวิทยา
ศาสตร์ให้กับนักศึกษาถือเป็นการเรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติ
******************************************************************
สรุปวิจัย
วิจัยเรื่อง ผลของการจัดประสบการณ์แบบปฏิบัติการทดลองประกอบ
อาหารกับแบบปกติที่มีต่อทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย
ของวไลพร พงษ์ศรีทัศน์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร
การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาผลของการจัดประสบการณ์แบบปฏิบัติการ
ทดลองประกอบอาหารและแบบปกติที่มีต่อทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของ
ทดลองประกอบอาหารและแบบปกติที่มีต่อทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของ
เด็กปฐมวัยและเพื่อเปรียบเทียบทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยที่
ได้รับการจัดประสบการณ์แบบปฏิบัติการทดลองประกอบอาหารกับวิธีการจัด
ประสบการณ์แบบปกติ
ได้รับการจัดประสบการณ์แบบปฏิบัติการทดลองประกอบอาหารกับวิธีการจัด
ประสบการณ์แบบปกติ
นิยามศัพท์เฉพาะ
1. เด็กปฐมวัย หมายถึง เด็กอายุ 4 – 5 ปีที่กำลังศึกษาในชั้นอนุบาลปีที่ 1
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2532 โรงเรียนสาธิตในสังกัดกรมการฝึกหัดครู
2. ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ หมายถึง ความสามารถในการปฏิบัติ
และฝึกฝนกระบวนการทางความคิดในการค้นคว้าหาความรู้และแก้ปัญหา ซึ่งประกอบ
ไปด้วยทักษะเบื้องต้น 6 ทักษะ ได้แก่
2.1 ทักษะการสังเกต หมายถึง ความสามารถในการใช้ประสาทสัมผัสอย่าง
ใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่างรวมกัน ได้แก่ ตา หู จมูก ลิ้น และผิวกายไปสัมผัสโดยตรง
กับวัตถุหรือเหตุการณ์โดยมีจุดประสงค์ที่จะรวบรวมข้อมูลซึ่งเป็นรายละเอียดของสิ่ง
นั้น ๆ
2.2 ทักษะการจำแนก หมายถึง ความสามารถในการจัด แบ่ง หรือเรียงลำดับ
วัตถุหรือสิ่งของที่มีอยู่ให้เป็นหมวดหมู่
2.3 ทักษะการวัด หมายถึง ความสามารถในการใช้เครื่องมือง่าย ๆ วัดสิ่งต่าง ๆ
ได้อย่างถูกต้อง โดยใช้หน่วยการวัดที่อาจจะเป็นมาตรฐานหรือไม่มาตรฐานหรือบางครั้ง
อาจไม่มีหน่วยการวัดกำกับก็ได้
2.4 ทักษะการสื่อความหมาย หมายถึง ความสามารถในการนำข้อมูลที่ได้จาก
การสังเกต การวัด และการทดลองมาจัดให้สัมพันธ์กันมากขึ้นจนง่ายต่อการแปลความ
หมายและสื่อความหมายให้บุคคลอื่นเข้าใจโดยใช้คำพูดหรือรูปภาพ
2.5 ทักษะการลงความเห็น หมายถึง ความสามารถในการสรุปความคิดเห็นที่
ได้จากข้อมูล จากการสังเกตหรือการทดลองได้อย่างถูกต้อง
2.6 ทักษะการหามิติสัมพันธ์ หมายถึง ความสามารถในการใช้ประสาทสัมผัส
อย่างใดอย่างหนึ่งในการหาความสัมพันธ์ระหว่างมิติต่าง ๆ เช่น สถานที่ รูปทรง ขนาด
ตำแหน่ง พื้นที่ เป็นต้น
1. เด็กปฐมวัย หมายถึง เด็กอายุ 4 – 5 ปีที่กำลังศึกษาในชั้นอนุบาลปีที่ 1
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2532 โรงเรียนสาธิตในสังกัดกรมการฝึกหัดครู
2. ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ หมายถึง ความสามารถในการปฏิบัติ
และฝึกฝนกระบวนการทางความคิดในการค้นคว้าหาความรู้และแก้ปัญหา ซึ่งประกอบ
ไปด้วยทักษะเบื้องต้น 6 ทักษะ ได้แก่
2.1 ทักษะการสังเกต หมายถึง ความสามารถในการใช้ประสาทสัมผัสอย่าง
ใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่างรวมกัน ได้แก่ ตา หู จมูก ลิ้น และผิวกายไปสัมผัสโดยตรง
กับวัตถุหรือเหตุการณ์โดยมีจุดประสงค์ที่จะรวบรวมข้อมูลซึ่งเป็นรายละเอียดของสิ่ง
นั้น ๆ
2.2 ทักษะการจำแนก หมายถึง ความสามารถในการจัด แบ่ง หรือเรียงลำดับ
วัตถุหรือสิ่งของที่มีอยู่ให้เป็นหมวดหมู่
2.3 ทักษะการวัด หมายถึง ความสามารถในการใช้เครื่องมือง่าย ๆ วัดสิ่งต่าง ๆ
ได้อย่างถูกต้อง โดยใช้หน่วยการวัดที่อาจจะเป็นมาตรฐานหรือไม่มาตรฐานหรือบางครั้ง
อาจไม่มีหน่วยการวัดกำกับก็ได้
2.4 ทักษะการสื่อความหมาย หมายถึง ความสามารถในการนำข้อมูลที่ได้จาก
การสังเกต การวัด และการทดลองมาจัดให้สัมพันธ์กันมากขึ้นจนง่ายต่อการแปลความ
หมายและสื่อความหมายให้บุคคลอื่นเข้าใจโดยใช้คำพูดหรือรูปภาพ
2.5 ทักษะการลงความเห็น หมายถึง ความสามารถในการสรุปความคิดเห็นที่
ได้จากข้อมูล จากการสังเกตหรือการทดลองได้อย่างถูกต้อง
2.6 ทักษะการหามิติสัมพันธ์ หมายถึง ความสามารถในการใช้ประสาทสัมผัส
อย่างใดอย่างหนึ่งในการหาความสัมพันธ์ระหว่างมิติต่าง ๆ เช่น สถานที่ รูปทรง ขนาด
ตำแหน่ง พื้นที่ เป็นต้น
3. การจัดประสบการณ์แบบปฏิบัติการทดลองประกอบอาหาร หมายถึง กิจกรรม
ที่จัดให้ผู้เรียนได้ใช้ประสาทสัมผัสทุกด้านในการเรียนรู้ คือ การมองเห็น การสัมผัส
การชิมรส การดมกลิ่น และการฟัง โดยผู้วิจัยเป็นผู้สร้างแผนการจัดประสบการณ์ทด
ลองประกอบอาหารขึ้นซึ่งแผนการจัดประสบการณ์นี้ประกอบ
ไปด้วยความคิดรวบยอด เนื้อหา วัตถุประสงค์ ขั้นตอนการดำเนินกิจกรรมสื่อการเรียน
การสอนและวิธีการประเมินผลสำหรับขั้นตอนการดำเนินกิจกรรมนั้นสามารถแบ่งออก
ได้เป็น 3 ระยะ ดังนี้
3.1 ขั้นเตรียม เป็นการนำเข้าสู่บทเรียนด้วยการสนทนา ถามคำถาม ตั้งปัญหา
ใช้เพลงคำคล้องจองหรือสื่ออย่างใดอย่างหนึ่งเพื่อกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความสนใจ
3.2 ขั้นปฏิบัติการ นักเรียนปฏิบัติการทดลองประกอบอาหารโดยใช้ประสาท
สัมผัสทั้ง 5 ในการเรียนรู้
3.3 ขั้นสรุป โดยครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาเพื่อนำไปสู่การสรุปผลที่ได้จาก
การปฏิบัติการ
4. การจัดประสบการณ์แบบปกติ หมายถึง การจัดกิจกรรมหรือการจัดประสบ
การณ์ตามกระบวนการที่ระบุไว้ในแผนการจัดประสบการณ์ชั้นอนุบาลปีที่ 1 ของสำนัก
งานคณะกรรมการประถมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2530 ฉบับทดลองโดยใช้สื่อการเรียน
และการประเมินผลตามที่ระบุไว้ในแต่ละกิจกรรมในแผนการจัดประสบการณ์ดังกล่าว
สำหรับขั้นตอนการดำเนินกิจกรรมนั้นสามารถแบ่งออกได้ 3 ระยะดังนี้
4.1 ขั้นนำ เป็นการนำเข้าสู่บทเรียนด้วยการสนทนา ถามคำถาม ตั้งปัญหา
ใช้เพลงคำคล้องจองหรือสื่ออย่างใดอย่างหนึ่งเพื่อกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความสนใจ
4.2 ขั้นสอน เป็นการนำเอาวิธีสอนโดยการอธิบาย การเล่านิทาน การศึกษา
นอกสถานที่ การอภิปราย การสาธิต การเล่นเกม และการปฏิบัติการเข้ามาใช้ในการ
ศึกษาข้อมูล
4.3 ขั้นสรุป เป็นการสรุปผลภายหลังจากการอธิบาย การเล่านิทาน การศึกษา
นอกสถานที่ การอภิปราย การสาธิต การเล่นเกม และการปฏิบัติการโดยครูและนัก
เรียนร่วมกันสนทนาสรุป
5. แบบทดสอบทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ หมายถึง ชุดของข้อคำถาม
และการปฏิบัติที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น ซึ่งเป็นคำถามและการปฏิบัติเกี่ยวกับทักษะกระบวน
การทางวิทยาศาสตร์ลักษณะเป็นปรนัยโดยเลือกตอบจาก 3 ตัวเลือก
สรุปผลการวิจัย
ผลการศึกษาในครั้งนี้พบว่า เด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดประสบการณ์แบบปฏิบัติ
การทดลองประกอบอาหารมีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์สูงกว่าเด็กปฐมวัย
ที่ได้รับการจัดประสบการณ์แบบปกติ ดังนั้นครูผู้สอนและผู้เกี่ยวข้องควรได้คัดเลือก
กิจกรรมนำไปใช้ให้เหมาะกับเนื้อหา วิจัยเพิ่มเติม
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น